การต่อวงจรปุ่มกดและวัดสัญญาณเอาต์พุต
วัตถุประสงค์ของการทดลอง
- เพื่อฝึกการต่อวงจรที่มีปุ่มกดเป็นส่วนประกอบลงในเบรดบอร์ด
- ฝึกทักษะในการใช้ออสซิลโลสโคป และการวัดสัญณาณต่างๆ ทางไฟฟ้า
- เพื่อฝึกการต่อวงจรที่มีปุ่มกดเป็นส่วนประกอบลงในเบรดบอร์ด
- ฝึกทักษะในการใช้ออสซิลโลสโคป และการวัดสัญณาณต่างๆ ทางไฟฟ้า
รายการอุปกรณ์
- เบรดบอร์ด 1 อัน
- ปุ่มกดแบบ 4 ขา 1 อัน
- ตัวต้านทาน 330 โอห์ม 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 10K โอห์ม 1 ตัว
- ไดโอดเปล่งแสงขนาด 5 มม. 1 ตัว
- ตัวเก็บประจุแบบมีขั้ว 10 uF 1 ตัว
- มัลติมิเตอร์ 1 เครื่อง
- ออสซิโลสโคปแบบดิจิทัล 1 เครื่อง
- แหล่งจ่ายควบคุมแรงดัน 1 ชุด
- สายไฟสำหรับต่อวงจร 1 ชุด
- เบรดบอร์ด 1 อัน
- ปุ่มกดแบบ 4 ขา 1 อัน
- ตัวต้านทาน 330 โอห์ม 1 ตัว
- ตัวต้านทาน 10K โอห์ม 1 ตัว
- ไดโอดเปล่งแสงขนาด 5 มม. 1 ตัว
- ตัวเก็บประจุแบบมีขั้ว 10 uF 1 ตัว
- มัลติมิเตอร์ 1 เครื่อง
- ออสซิโลสโคปแบบดิจิทัล 1 เครื่อง
- แหล่งจ่ายควบคุมแรงดัน 1 ชุด
- สายไฟสำหรับต่อวงจร 1 ชุด
วิธีการทดลอง
- ให้ต่อวงจรตามในรูปที่ 1.1.4 และให้จ่ายแรงดัน 5Vdc
- ใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดันตกคร่อมที่ตัวต้านทาน 10K โอห์ม 2 ครั้ง โดยครั้งแรกในขณะที่กดปุ่ม ครั้งที่ 2 ในขณะที่ไมไ่ด้กดปุ่ม จากนั้นทำการจดบันทึกค่าแรงดันที่ได้
- ใช้มัลติมิเตอร์วัดกระแสที่ไหลผ่านปุ่มกด แบ่งเป็น 2 กรณีเช่นเดียวกับวัดแรงดันตกคร่อม จากนั้นนำค่าที่ได้มาบันทึกในตาราง
- ใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้วงจร Vout เทียบกับ GND ตามรูป ที่ 1.1.4เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที บันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ต่อวงจรตามรูปที่ 1.1.5 แล้วใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้จากวงจร Vout เทียบ GND เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที บันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ต่อวงจรตามรูปที่ 1.1.6 จากนั้นใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดันตกคร่อมที่ตัวต้านทาน 10K โอห์ม โดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือขณะที่กดปุ่ม และ ไม่กดปุ่ม จากนั้นจดบันทึกค่าแรงดันทีได้ลงในตาราง
- ใช้มัลติมิเตอร์วัดกระแสที่ไหลผ่านปุ่มกด โดยแบ่งเป็น 2 กรณีเช่นเดียวกับการวัดแรงดันตกคร่อม จากนั้นนำค่าที่ได้บันทึกลงในตาราง
- ใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้จากวงจร Vout เทียบ GND ตามรูป ที่ 1.1.6 เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที บันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ต่อวงจรตามรูปที่ 1.1.7 จากนั้นใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้จากวงจร Vout เทียบ GND เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที จากบันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ให้ต่อวงจรตามในรูปที่ 1.1.4 และให้จ่ายแรงดัน 5Vdc
- ใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดันตกคร่อมที่ตัวต้านทาน 10K โอห์ม 2 ครั้ง โดยครั้งแรกในขณะที่กดปุ่ม ครั้งที่ 2 ในขณะที่ไมไ่ด้กดปุ่ม จากนั้นทำการจดบันทึกค่าแรงดันที่ได้
- ใช้มัลติมิเตอร์วัดกระแสที่ไหลผ่านปุ่มกด แบ่งเป็น 2 กรณีเช่นเดียวกับวัดแรงดันตกคร่อม จากนั้นนำค่าที่ได้มาบันทึกในตาราง
- ใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้วงจร Vout เทียบกับ GND ตามรูป ที่ 1.1.4เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที บันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ต่อวงจรตามรูปที่ 1.1.5 แล้วใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้จากวงจร Vout เทียบ GND เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที บันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ต่อวงจรตามรูปที่ 1.1.6 จากนั้นใช้มัลติมิเตอร์วัดแรงดันตกคร่อมที่ตัวต้านทาน 10K โอห์ม โดยแบ่งเป็น 2 กรณี คือขณะที่กดปุ่ม และ ไม่กดปุ่ม จากนั้นจดบันทึกค่าแรงดันทีได้ลงในตาราง
- ใช้มัลติมิเตอร์วัดกระแสที่ไหลผ่านปุ่มกด โดยแบ่งเป็น 2 กรณีเช่นเดียวกับการวัดแรงดันตกคร่อม จากนั้นนำค่าที่ได้บันทึกลงในตาราง
- ใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้จากวงจร Vout เทียบ GND ตามรูป ที่ 1.1.6 เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที บันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
- ต่อวงจรตามรูปที่ 1.1.7 จากนั้นใช้ออลซิลโลสโคปวัดสัญญาณที่ได้จากวงจร Vout เทียบ GND เมื่อกดปุ่มแล้วปล่อยทันที จากบันทึกรูปสัญญาณที่ปรากฏ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น